ช่องทางรับฟังความคิดเห็น     คลังเอกสาร     คำถามที่พบบ่อย     ถาม-ตอบ      มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี    

ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสาร ปี พ.ศ. 2566

ปี พ.ศ. 2566

ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่วารสารระดับนานาชาติ ระดับชาติ และ ผลงานวิจัยที่เผยแพร่ในที่ประชุมวิชาการ มีดังนี้

ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติ ได้แก่

1) Maninet, S., & Desaravinid, C. (2023). Relationships between illness perception, functional status, social support, and self-care behavior among Thai people at high risk of stroke: A cross-sectional studyBelitung Nursing Journal(1), 62–68. (Q 4)

2) Maninet, S., Nakrit, B., & Suttavat, P. (2023). Prevalence and influencing factors of fatigue among patients undergoing continuous ambulatory peritoneal dialysis: A cross-sectional studyBelitung Nursing Journal9(4), 391–398. (Q 3)

 

ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับชาติ ได้แก่

1) บทความวิจัย เรื่อง "ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มอาการผู้สูงอายุภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยสูงอายุ ในโรงพยาบาลตติยภูมิแห่งหนึ่ง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย" สาวิตรี สิงหาด,สุฬดี  กิตติวรเวช, จำลอง กิตติวรเวช, อธิพงศ์ สุริยา, สุเพียร  โภคทิพย์. (2566). วารสารวิชาการสาธารณสุข.32(1), หน้า 53 - 62. (TCI 1)

2) บทความวิจัย เรื่อง "ผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพเด็กก่อนวัยเรียนที่มีภาวะผอมต่อพฤติกรรมการเลี้ยงดูเด็กด้านโภชนาการของผู้ดูแล" ธมกร เธียรภูริเดช, นาฎอนงค์ แฝงพงษ์. (2566). วารสารพยาบาลทหารบก.24(1), หน้า 218 - 326. (TCI 1)

3) บทความวิจัย เรื่อง "ความรอบรู้ด้านสุขภาพในการเลี้ยงดูเด็กวัยก่อนเรียนของผู้เลี้ยงดูหลักและครูผู้ดูแล ในเขตจังหวัดอุบลราชธานี" นาฎอนงค์ แฝงพงษ์, ประภัสสร จันดี, ณัฐธิดา ปัญญาธนคุณ. (2566). วารสารพยาบาลทหารบก.24(1), หน้า 441 - 449. (TCI 1)

4) บทความวิจัย เรื่อง "ผลของโปรแกรมสอนการช่วยฟื้นคืนชีพพื้นฐานต่อการคงอยู่ของความรู้และทักษะในอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน : กรณีศึกษาตำบลหนึ่งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ" เพ็ญพักตร์ ไชยสงเมือง, อรทัย บุญชูวงศ์, ณัฐนันท์ คำพิริยะพงศ์, ฉันทวรรณ วิชัยพล. (2566). วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข. 24(1), หน้า 49 - 61. (TCI 1)

5) บทความวิจัย เรื่อง "ปัจจัยการทำนายความตั้งใจในการรับวัคซีนป้องกัน โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-19 ของผู้สูงอายุในชุมชนชนบท" อานนท์ สังขะพงษ์, ฐพัชร์ คันศร, วีระชัย เตชะนิรัติศัย. (2566). วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข. 24(1), หน้า 450-458. (TCI 1)

6) บทความวิจัย เรื่อง "An Action Research to Develop a Model of Promoting Knowledge and Behavioral Adjustment of Hypertensive Patients" Onuma Kaewkerd; Yuttachai Chaiyasit; Sompong Pamulila; Nongkaluk Wongphanarat; Natawan Hunpayon; Nantaya nonlaopon; Phensiri Dumrongpakapakorn.(2566). The Bangkok Medical Journal. 19(2), หน้า 49-56. (TCI 2)

7) บทความวิจัย เรื่อง "ผลของโยคะต่อสุขภาพกายและจิตของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน" สิริทรัพย์ สีหะวงษ์, ศิริพร จันทนสกุลวงศ์ ,ปิยณัฐ สร้อยคำ ,พฤฒินี นนท์ตุลา. (2566). วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 9(1), หน้า 44- 54. (TCI 1)

8) บทความวิจัย เรื่อง "ผลของโปรแกรมการบำบัดด้วยกลุ่มจิตบำบัดประคับประคองร่วมกับแนวคิดภูมิปัญญาไทยต่อภาวะซึมเศร้าและความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า" ชมัยพร พรรณนาภพ , สงวน ธานี , หทัยรัตน์ ดิษฐอั๊ง , กุณฑ์ชลี เพียรทอง , ธวัชชัย พละกดิ์. (2566). วารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค์. 6(3), หน้า 85-99. (TCI 2)

9) บทความวิจัย เรื่อง "ประสิทธิผลของโปรแกรมการกำกับอารมณ์ต่อผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าในชุมชน" ก้องกฤษฎากรณ์ ชนแดง, สมจิตต์ ลุประสงค์, กานต์ตริน ศรีสุวรรณ,เกษร สายธนู,สงวน ธานี. (2566). วารสารสุขภาพกับการจัดการสุขภาพ. 9(1), หน้า 123-133. (TCI 1)

10) บทความวิจัย เรื่อง "โปรแกรมสร้างเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของผู้ปกครองเด็กวัยก่อนเรียนที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก" นาฎอนงค์ แฝงพงษ์* ณัฐธิดา ปัญญาธนคุณ วิศนีย์ บุญหมั่น. (2566). วารสารพยาบาลทหารบก. 24(2), หน้า 383-392. (TCI 1)

11) บทความวิจัย เรื่อง "ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรค การรับรู้การสนับสนุนทางสังคม การรับรู้เกี่ยวกับการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และ พฤติกรรมการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยของผู้ปกครอง" ฉันทวรรณ วิชัยพล ยมนา ชนะนิล ภูษณิศา มีนาเขตร อังศวีร์ จันทะโคตร. (2566). วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข. 33(2), หน้า 26 - 37. (TCI 1)

12) บทความวิจัย เรื่อง "สุขภาวะทางใจของอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้านในระหว่างการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019" จิรังกูร ณัฐรังสี, ทศา ชัยวรรณวรรต, สุจิตรา กฤติยาวรรณ, ทัศนีย์ ทิพย์สูงเนิน, พัชรี ใจการุณ. (2566). วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล. 29(2), หน้า 1-13. (TCI 1)

13) บทความวิจัย เรื่อง "ความรู้และทัศนคติเกี่ยวกับประเทศอินเดียของบุคลากรในมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี" ปิยณัฐ สร้อยคำ, สิริทรัพย์ สีหะวงษ์. (2566). วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 42(4), หน้า 507-517. (TCI 1)

 

การรับรองความเป็นนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566

ชื่อผลงาน :  นวัตกรรม/สิ่งประดิษฐ์ “แอพพลิเคชั่นการบริหารสมอง ป้องกันภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ”

เจ้าของผลงาน :  1. ผศ.สาวิตรี  สิงหาด  (คณะพยาบาลศาสตร์ ม.อุบลฯ)

                          2. ผศ.อธิพงศ์  สุริยา  (คณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.อุบลฯ) 

                         3.  ผศ.สุฬดี  กิตติวรเวช  (คณะพยาบาลศาสตร์ ม.อุบลฯ)

ได้รับการรับรองความเป็นนวัตกรรม ปีงบประมาณ 2566 รอบที่ 1 ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการบริหารโครงการวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ในการประชุมครั้งที่ 3/2566 เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2566